การ์ทเนอร์ (Gartner) ยอดจัดส่งรถยนต์ไฟฟ้า (EV Car) ภายในปี 66 จะสูงแตะ 15 ล้านคัน และภายใน 6 ปี มากกว่าครึ่งของรถยนต์ที่ถูกผลิตทุกรุ่นจะเป็นรถยนต์ไฟฟ้า…
highlight
- ในปี 2567 ยอดจัดส่งรถยนต์ไฟฟ้าจะเพิ่มเป็น 17.9 ล้านคัน
- ในปี 2570 รถยนต์ไฟฟ้าแบตเตอรี่ (BEV) จะมีราคาเทียบเท่ารถเครื่องยนต์สันดาป (ICE) ในขนาด และรูปร่างคล้ายกัน
- ในปี 2573 มากกว่าครึ่งหนึ่งของรถยนต์ทุกรุ่นที่ผลิตออกมาจะเป็นรถยนต์ไฟฟ้า
Gartner คาดยอดจัดส่งรถยนต์ไฟฟ้า ปี 66 สูงแตะ 15 ล้านคัน
การ์ทเนอร์ คาดการณ์ยอดการจัดส่งรถยนต์ขับเคลื่อนด้วยพลังงานไฟฟ้าทั่วโลก (แบบใช้พลังงานจากแบตเตอรี่ และแบบปลั๊กอิน-ไฮบริด) ในปี 2566 มีปริมาณเกือบ 15 ล้านคัน และคาดว่าจะเพิ่มขึ้นอีก 19% ในปี 2567 คิดเป็นยอดรวม 17.9 ล้านคัน
การ์ทเนอร์คาดการณ์ว่า ในปี 2567 ปริมาณการจัดส่งยานยนต์ไฟฟ้า (EV) ทั้งหมด ตั้งแต่ รถยนต์ (Cars) รถโดยสาร (Buses) รถตู้ (Vans) และรถบรรทุกขนาดใหญ่ (Heavy Trucks) จะมียอดรวมที่ 18.5 ล้านคัน โดยในกลุ่มรถยนต์ไฟฟ้าจะคิดเป็น 97% ของยอดการจัดส่งยานยนต์ไฟฟ้าทั้งหมดในปีหน้า (ดูตารางที่ 1)
ตารางที่ 1: ปริมาณการจัดส่งยานยนต์ไฟฟ้าทั่ วโลก ปี 2565–2567 (หน่วยตามจริง)
การ์ทเนอร์คาดว่ารถยนต์ไฟฟ้
โจนาธาน ดาเวนพอร์ท ผู้อำนวยการอาวุโสฝ่ายวิจั
โดยผู้บริโภคในสหรัฐฯ กำลังเปลี่ยนจากรถเครื่องยนต์สั
และไกลขึ้น ซึ่งในตลาดยุโรปตะวันตก จีน และอินเดียแตกต่างออกไป โดยรถ PHEV ได้รับความสนใจน้อยกว่า BEV เนื่องจากผู้บริโภคในตลาดเหล่
ในปี 2573 จำนวนรถยนต์ทุกรุ่นที่ผลิ ตออกมาทั้งหมด จะเป็น EV มากกว่า 50%
การตัดสินใจของภาครัฐบาลที่มุ่
โดยผู้ผลิตรถยนต์บางรายกำลั
นอกจากนี้ ความสำคัญที่เพิ่มขึ้นของรถยนต์
“กฎระเบียบด้านมลพิษที่เข้
มงวดขึ้นเรื่อย ๆ ทำให้ผู้ผลิตต้องเปลี่ ยนโมเดลรถยนต์ที่ทำการตลาดอยู่ มากกว่าครึ่งหนึ่งให้เป็นรถยนต์ ไฟฟ้า ในปี 2573”
ในปี 2570 รถ BEV จะมีราคาเท่ากับรถ ICE ที่มีขนาด และรูปแบบคล้ายกัน
นักวิเคราะห์ของการ์ทเนอร์ยังคาดว่า ภายในปี 2570 ราคาเฉลี่ยของรถ BEV จะเท่ากับรถยนต์ ICE ที่มีขนาด และรูปร่างต่าง ๆ ใกล้เคียงกัน ซึ่งจะเร่งให้เกิดการใช้ EV ทั่วโลก อย่างไรก็ตาม ภายในปี 2573 การผลิตไฟฟ้าและประสิทธิภาพเครือข่ายจะเป็นปัจจัยกำหนดการใช้งาน EV ให้แพร่หลายเหนือกว่าปัจจัยด้านราคา
เว้นแต่ในประเทศต่าง ๆ จะจูงใจผู้ขับขี่รถ EV ให้ชาร์จแบตเตอรี่นอกช่วงเวลาที่มีการใช้ไฟฟ้าสูงสุด นอกจากนี้การเปลี่ยนไปใช้รถ EV อาจสร้างความต้องการที่มากขึ้นเพิ่มเติมทั้งในด้านกำลังการผลิตไฟฟ้า และโครงสร้างพื้นฐานในการจ่ายไฟ
“การใช้อัตราค่าไฟฟ้าแบบกลางวัน และกลางคืน (Dual Day and Night) หรือแม้แต่การใช้อัตราค่าไฟฟ้ารายครึ่งชั่วโมง (Half-Hourly Electricity Tariffs) สามารถจูงใจผู้ขับขี่รถยนต์ไฟฟ้าให้หันมาชาร์จไฟนอกช่วงเวลาที่มีการใช้ไฟฟ้าจำนวนมาก (Peak Times) ซึ่งจะต้องมีการนำมาตรวัดพลังงานไฟฟ้าอัจฉริยะมาใช้เป็นวงกว้าง
นอกจากนั้น ความสามารถของสาธารณูปโภคต่าง ๆ ในการควบคุมเครื่องชาร์จ EV โดยตรงผ่านการเชื่อมต่อจากระบบหนึ่งไปสู่อีกระบบหนึ่ง หรือ Application Programming Interfaces (API) จะทำให้การชาร์จ EV ถูกลดทอนลงชั่วขณะระหว่างช่วงเวลาที่มีการบริโภคสูงสุด เพื่อให้มั่นใจว่าความต้องการการใช้ไฟฟ้าจะไม่มากเกินไป” ดาเวนพอร์ต กล่าว
ส่วนขยาย * บทความเรื่องนี้น่าจะเป็นประโยชน์สำหรับการวิเคราะห์ในมุมมองที่น่าสนใจ ** เขียน: ชลัมพ์ ศุภวาที (บรรณาธิการ และผู้สื่อข่าว) *** ขอขอบคุณภาพประกอบบางส่วนจาก N/A
สามารถกดติดตามข่าวสาร และบทความทางด้านเทคโนโลยีของเราได้ที่ www.facebook.com/itday.in.th