เอไอเอส (AIS) เดินหน้าพัฒนาทักษะความฉลาดทางดิ
highlight
- เอไอเอสเผยผลสำรวจดัชนีชี้วัดคว
ามปลอดภัยบนสื่อออนไลน์สำหรับเด็ ก ซึ่งจัดทำร่วมกับสถาบัน DQ ระดับโลก โดยความร่วมมือกับ 30 ประเทศทั่วโลก พบเด็กไทยเกี่ยวข้องกับการรังแก และเคยถูกรังแกบนโลกออนไลน์สู งกว่าค่าเฉลี่ยของเด็กประเทศอื่ น แนะผู้ปกครอง โรงเรียน คุณครู ต้องร่วมกันสร้างความเข้าใจ และเร่งพัฒนาทักษะความฉลาดทางดิ จิทัล DQ ให้กับเด็กๆ อย่างเร่งด่วน เพื่อเป็นภูมิคุ้มกันให้เด็กรู้ จักแยกแยะ และจัดการปัญหา อารมณ์ และทัศนคติ ในการรับมือกับการกลั่นแกล้งบนโ ลกออนไลน์ได้อย่างเหมาะสม
AIS ผลักดัน DQ ความฉลาดทางดิจิทัล ทักษะใหม่เด็กไทย ยุค New Normal
นัฐิยา พัวพงศกร หัวหน้าแผนกงานพัฒนาธุรกิจอย่าง
สาระประโยชน์ ความบันเทิง และโซเชียลมีเดีย ซึ่งอาจทำให้เด็กไทยเสี่ยงภัยจา
การกลั่นแกล้งบนโลกออนไลน์ สามารถเกิดขึ้นกับคนทุกเพศ ทุกวัย ทั้งในฐานะของผู้กระทำ และผู้ถูกกระทำ โดยใช้สื่อโซเชียลมีเดียเป็นเครื่
โดยการกลั่นแกล้งนั้น แม้อาจจะเกิดได้จากความตั้งใจหรื
โดยเก็บรวบรวมข้อมูลพฤติกรรมเด็
ได้แก่ การรังแกออนไลน์, การใช้เทคโนโลยีอย่างไม่มีวินัย
- 48% ของเด็กไทย เคยเกี่ยวข้องกับการรังแกบนโลกอ
อนไลน์ ในขณะที่ค่าเฉลี่ยของทั่วโลกอยู่ที่ 33% - 41% ของเด็กไทย เคยถูกรังแกบนโลกออนไลน์ ในขณะที่ค่าเฉลี่ยของทั่วโลกอยู่ที่ 39%
- เด็กผู้ชาย (56%) รู้เห็นหรือเกี่ยวข้องกับการรัง
แกออนไลน์มากกว่าเด็กผู้หญิง (41%) - จำนวนเด็กผู้ชายและผู้หญิงที่เค
ยถูกรังแกมีสัดส่วนเท่าๆ กัน โดยในกลุ่มของเด็กอายุ 13 ปี ขึ้นไป พบว่าเด็กผู้หญิงที่เคยถูกรังแก บนโลกออนไลน์มีจำนวน 43% ในขณะที่เด็กผู้ชายอยู่ที่ 37%
เอไอเอส ในฐานะ Digital Life Service Provider จึงถือเป็นภารกิจสำคัญที่ต้องกา
ทักษะพื้นฐาน ที่เป็นเกราะป้องกั นภัยไซเบอร์
โดยในปีที่ผ่านมา เราได้ริเริ่มโครงการ “อุ่นใจไซเบอร์“ ที่มุ่งสร้างความตระหนักรู้ถึงภั
เพื่อให้เด็กไทย และคนไทยเข้าไปเ
- ใจเขา ใจเรา ทุกคนมีความรู้สึกและไม่มีใครอย
ากโดนทำร้าย แม้แต่ตัวเราเองก็ไม่อยากให้ใคร มาทำร้ายความรู้สึกหรือชื่อเสี ยง ดังนั้น ความเห็นใจซึ่งกันและกันเป็นสิ่ งที่สำคัญมากในการอยู่ร่วมกันใน สังคมทั้งบนโซเชียลและชีวิตจริง ก่อนที่จะพูดอะไรออกไป และก่อนตัดสินใจทำอะไรลงไป ลองคิดถึงใจของอีกฝ่ายว่าถ้าเรา ไปเป็นเขาจะรู้สึกอย่างไร อย่าคิดแทนคนอื่น และอย่าตัดสินคนอื่น เพียงเพราะสิ่งที่เราเห็น - คิดก่อนโพสต์ เพียงความสนุกสนานในการโพสต์ข้อ
ความแง่ลบต่อคนอื่นในโลกออนไลน์ เพียงครั้งเดียว อาจทำให้ใครบางคนรู้สึกเจ็บปวดจ ากการ Cyberbullying ได้ตลอดไป มาเพิ่มความใส่ใจต่อคนอื่นในโลก ออนไลน์ ทำได้ง่ายๆ โดยไม่ระบายทุกอย่างลงบนโซเชียล โดยเฉพาะเวลาโกรธ, โพสต์อะไรควรมีที่มาที่ไป ไม่กล่าวหาใครลอยๆ, สุภาพไว้ดีที่สุด เพื่อลดความขุ่นเคืองต่อกัน, คิดให้ดีก่อนโพสต์ว่าสิ่งเหล่านั้ นสามารถส่งผลกระทบอะไรกับเราหรื อคนอื่นหรือไม่ - เช็กก่อนเชื่อ หลายครั้งที่การกลั่นแกล้งออนไล
น์เกิดขึ้นเพียงเพื่อความสนุก สะใจ หรือความผิดพลาด โดยไม่ทันไม่เช็กข้อมูลให้ดีก่อ น แม้เป็นความไม่ได้ตั้งใจรังแกคน อื่่น แต่ก็กลายเป็นฝันร้ายของผู้ถูกก ระทำจนยากจะลืมได้ ทักษะดิจิทัล DQ ในหัวข้อ “เช็กก่อนเชื่อ” จึงเป็นทักษะสำคัญที่จะช่วยให้เ ราไม่กลายเป็นผู้กระทำคนอื่นในโ ลกออนไลน์ เราสามารถวิเคราะห์ได้ แยกแยะเป็นระหว่างข้อมูลที่ถูกแ ละข้อมูลที่ผิด ไม่รีบด่วนตัดสินใจ มีความรู้เท่าทันและประเมินข้อมู ลจากหลายแหล่งก่อนตัดสินใจเชื่อ - ทำอย่างไรเมื่อถูก Cyberbully นี่อาจเป็นคำถามที่เกิดขึ้นกับห
ลายคน เมื่อโดนกระทำให้รู้สึกอับอายหรื อเสื่อมเสียบนโลกออนไลน์ อย่าปล่อยให้ปัญหาเหล่านี้ สะสมจนมาบั่นทอนจิตใจจนส่งผลกระ ทบไปถึงด้านอื่นๆ ในชีวิต ด้วยวิธีรับมือดังนี้
- ไม่โต้ตอบ – ยิ่งเราเลือกตอบโต้ จะเป็นการทำให้เรื่องราวบานปลาย
ได้ - บล็อกไปเลย – ปิดช่องทางไม่ให้เขามายุ่งวอแวกั
บเราได้ - ไม่เก็บเอาไว้คนเดียว – จะสร้างความเครียดให้ตัวเอง ให้ขอความช่วยเหลือจากคนรอบตัวดี
กว่า - เก็บหลักฐานเอาไว้ – รวบรวมหลักฐานของคนที่มาโพสต์กลั่
นแกล้งของเราไว้ ถ้าสิ่งนั้นส่งผลกระทบกับจิตใจและชีวิตมากเ กินไป สามารถนำหลักฐานไปแจ้งความได้
โดย เอไอเอสได้นำเข้าแบบเรียนรู้ DQ ซึ่งมีทั้งบททดสอบวัด DQ ในตัวคุณ และบทเรียนออนไลน์ที่มีประโยชน์ เสริมสร้างทักษะทางดิจิทัลที่จำ
เนื่องในวันต่อต้านการกลั่นแกล้
จึงได้จัดกิจกรรม Live Social Sharing ในหัวข้อ “Empathy is the key ใจเขา ใจเรา คิดถึงความรู้สึกคนอื่น และไม่ด่วนตัดสินใคร“ จากกลุ่มคนรุ่นใหม่ ได้แก่ ติช่า กันติชา, ซูซี่ ณัฐวดี, ญา ปราชญา, ลูกกอล์ฟ คณาธิป และ ต้น นรพันธ์ ที่มาร่วมถ่ายทอดประสบการณ์ พฤติกรรม มุมมอง และสภาพจิตใจ
ที่เคยพบกับการถูกกลั่นแกล้ง (Bully) เพื่อร่วมกันส่งต่อแนวคิดที่จะช่
“เราหวังในพลังจากทุกเครือข่าย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ครอบครัว คุณครู ที่จะช่วยบ่มเพาะทักษะ และสร้างภู
ส่วนขยาย * บทความเรื่องนี้น่าจะเป็นประโยชน์สำหรับการวิเคราะห์ในมุมมองที่น่าสนใจ ** เขียน: ชลัมพ์ ศุภวาที (บรรณาธิการ และผู้สื่อข่าว) *** ขอขอบคุณภาพประกอบบางส่วนจาก www.pexels.com
สามารถกดติดตามข่าวสารและบทความทางด้านเทคโนโลยีของเราได้ที่ www.facebook.com/itday.in.th