เอไอเอส (AIS) ห่วงใยคนไทยยุคโควิด-19 หลังผลสำรวจชี้ เด็กไทยเสี่ยงภัยบนโลกออนไลน์มากขึ้น แนะเร่งพัฒนาทักษะ DQ ของเด็กไทย ด้วยชุดการเรียนรู้ DQ สุดสนุก…
AIS แนะเร่งพัฒนาทักษะ DQ ของเด็กไทย พร้อมส่งชุดการเรียนรู้สุดสนุกให้ครอบครัวได้ทำร่วม กัน
จากวิกฤตแพร่ระบาดของไวรัส โควิด
และกิจวัตรประจำวันของทุกคน ทุกเพศ ทุกวัย อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ไม่ว่าจะเป็น การทำงานจากที่บ้าน (Work From Home) การเรียนจากที่บ้าน (Learn From Home) หรือการเลื่อนเปิดเทอม ซึ่งทำให้ทุกคนผูกติดอยู่กับสื่
ดังนั้นการตระหนักถึงภัยคุกคามจ
ควบคู่ไปกับการพัฒนาทักษะเพื่อใ
และสร้างสรรค์ในช่วงวั
นัฐิยา พัวพงศกร หัวหน้าแผนกงานพัฒนาธุรกิจอย่าง
ในชีวิ
พบเด็กไทยเสี่ยงภัยบนโลกออนไลน์ มากขึ้น
จากรายงานของ สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กท
แต่ยังสะท้อนถึงผลกระทบอีกด้านที่
ได้เผยผลสำรวจ จากการเก็บรวบรวมข้อมูลพฤติกรรม
โดยจากผลสำรวจในประเทศไทย พบว่า เด็กไทยมีความเสี่ยงในโลกไซเบอร์
- การถูกรังแกบนออนไลน์ (Cyberbullying) เช่น การโพสต์ดูหมิ่นกลั่นแกล้ง การร่วมกันเพิกเฉยและชักชวนให้ค
นอื่นไม่คบหาพูดคุยด้วยในออนไลน์ - การกระทำที่จะทำให้เสียชื่อเสีย
ง (Reputation Risks) เช่น การโพสต์ประจานล้อเลียน การโพสต์รูปหรือคลิปที่แอบถ่ายห รือไม่เหมาะสมเพื่อสร้างความขบขั น ให้ผู้อื่นอับอาย - ความเสี่ยงในการติดต่อออนไลน์ (Risky Contacts) เช่น การถูกล่อลวงเพื่อหลอกลวงเอาทรั
พย์สิน หรือข้อมูล และการล่อลวงเพื่อทำไปสู่การคุก คามในชีวิตจริง
ทั้งนี้ยังพบอีกว่าเด็กไทยควรได้
- การสร้างอัตลักษณ์ออนไลน์ (Digital Citizen Identity) ใช้ตัวตนจริงบนโลกออนไลน์ไม่ปลอ
มแปลงโปรไฟล์ - การรับมือเมื่อถูกรังแกออนไลน์ (Cyberbullying Management) สามารถรับมือ และจัดการกับการถูก
รังแกบนโลกออนไลน์ได้อย่างเหมาะ สม, - การคิดวิเคราะห์ (Critical Thinking) สามารถคิดวิเคราะห์แยกแยะข้อมูล
ที่ปรากฏในโลกออนไลน์ได้ - การจัดการกับข้อมูลส่วนตัว (Privacy Management) สามารถตั้งค่าความเป็นส่วนตัวขอ
งข้อมูลได้อย่างเหมาะสม
ขณะเดียวกัน รายงานชุดนี้ระบุว่า ประเทศไทยมีได้คะแนนเฉลี่ยสูงกว่
- Access คือ มีความสามารถในการเชื่อมต่ออินเ
ทอร์เน็ต แสดงให้เห็นว่าประเทศไทยมีโครงส ร้างพื้นฐานทางด้าน Digital Infrastructure ที่ดีและเสถียร ผู้คนในประเทศสามารถเข้าถึงอินเ ทอร์เน็ตได้ดี - Cyber Security Infrastructure นโยบายของรัฐบาล รวมถึงจริยธรรมของผู้ประกอบธุรกิ
จด้านโทรคมนาคม มีส่วนร่วมในการเสริมสร้างป้องกั นเด็กจากภัยในโลกออนไลน์
แม้ว่าการระบาดของโรคไวรัสโควิด
ถึงเวลาทุกภาคส่วนในสังคม ควรมีบทบาทสำคัญที่จะต้องช่วยกั
ผู้ปกครองเป็นผู้ที่มีบทบาทสำคั
แนะเร่งพัฒนาทักษะความฉลาดทางดิ จิทัล DQ ให้เด็กไทย
ด้วยเหตุนี้ “โครงการอุ่นใจไซเบอร์” จึงขอร่วมรณรงค์ให้ทุกครอบครัวไ
- อัตลักษณ์ออนไลน์ (Digital Identity) ตัวตนในโลกออนไลน์ให้เหมือนตัวจ
ริง คิด พูด ทำ อย่างถูกต้อง - ยับยั้งชั่งใจ (Digital Use) สามารถควบคุมเวลาตัวเอง ในการใช้งานหน้าจอต่าง ๆ ได้
- เมื่อถูกรังแกออนไลน์ (Digital Safety) รู้ตัวเมื่อถูกกลั่นแกล้งคุกคาม และสามารถรับมือพร้อมวางตัวได้เ
หมาะสม - ท่องเน็ตอย่างปลอดภัย (Digital Security) สามารถปกป้องตัวเองโดยใช้รหัสผ่
านที่แข็งแกร่ง พร้อมทั้งสามารถแยกแยะโปรแกรมหล อกลวง Spam, Scam และ Phishing ได้ - ใจเขา–ใจเรา (Digital Emotional Intelligence ) คิดถึงความรู้สึกของคนอื่น ไม่ด่วนตัดสินใครบนโลกออนไลน์
- รู้ถึงผลที่จะตามมา (Digital Communication) สิ่งที่เคยโพสต์ในออนไลน์ ถึงลบแล้วก็จะยังคงอยู่เสมอ และทำให้เราเดือดร้อนในวันข้างห
น้าได้ - คิดเป็น (Digital Literacy) แยกแยะข่าวสารได้ ว่าข่าวไหนเป็นข้อมูลเท็จ ข่าวไหนเป็นจริง
- รู้สิทธิ และความเป็นส่วนตัว (Digital Right) รู้จักสิทธิมนุษยชนและสามารถปกป้
องข้อมูลส่วนตัวได้
โดย เอไอเอสได้ร่วมกับสถาบัน DQ ผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาทักษะท
สามารถเข้าไปเรียนรู้ทักษะความฉ
ส่วนขยาย * บทความเรื่องนี้น่าจะเป็นประโยชน์สำหรับการวิเคราะห์ในมุมมองที่น่าสนใจ ** เขียน: ชลัมพ์ ศุภวาที (บรรณาธิการ และผู้สื่อข่าว) *** ขอขอบคุณภาพประกอบบางส่วนจาก www.pexels.com
สามารถกดติดตามข่าวสารและบทความทางด้านเทคโนโลยีของเราได้ที่ www.facebook.com/itday.in.th