เอไอเอส (AIS) จับมือภาคีเครือข่ายความยั่งยืน TRBN โดย 9 บริษัทจดทะเบียน ดึงพลังพนักงานกว่า 20,000 คน ร่วมปฏิบัติการ “คนไทยไร้ E-Waste”…
highlight
เอไอเอส เดินหน้าปฏิบัติการเพื่อสิ่งแวด ล้อม ขยายผลแคมเปญ “คนไทยไร้ E-Waste” จับมือพันธมิตร ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคการศึกษา ในการรับทิ้งขยะอิเล็กทรอนิกส์ (E-Waste) และนำไปกำจัดอย่างถูกวิธี ล่าสุดรวมพลังกับ ภาคีเครือข่ายความเพื่อยั่งยืนแ ห่งประเทศไทย TRBN โดยความร่วมมือของกลุ่มบริษัทจด ทะเบียน ภายใต้การกำกับดูแลของตลาดหลักท รัพย์แห่งประเทศไทย ทั้ง 9 องค์กร สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรั พย์ และตลาดหลักทรัพย์,บางกอกแอร์ เวย์ส, ไทยออพติคอล, อีสท์ วอเตอร์, การบินไทย, ยูนีซัน, เอสซี แอสเสท, ธนาคารกรุงศรีอยุธยา และ สิงห์ เอสเตท ดึงพลังจากพนักงานคนรุ่นใหม่ในอ งค์กรกว่า 20,000 คน ร่วมรณรงค์ และบอกต่อการทิ้งขยะอิ เล็กทรอนิกส์อย่างถูกวิธี
พร้อมทั้งขยายจุดรับทิ้งขยะ E-Waste ไปวางที่สำนักงานของบริษัทต่างๆ รับคลายล็อกดาวน์ ที่พนักงานบริษัทเริ่มทยอยกลับเ ข้าทำงานตามปกติ และจะได้นำขยะ E-Waste มาทิ้งที่ออฟฟิศได้อย่างสะดวก พร้อมทั้งเชิญชวนคนไทยร่วมใจคัด แยก E-Waste และนำไปทิ้งในจุดรับทิ้งซึ่งกระ จายอยู่ทั่วประเทศกว่า 1,806 จุด
AIS จับมือ 9 บริษัทจดทะเบียน ร่วมปฏิบัติการ “คนไทยไร้ E –Waste “
นัฐิยา พัวพงศกร หัวหน้าแผนกงานพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน เอไอเอส
นัฐิยา พัวพงศกร หัวหน้าแผนกงานพัฒนาธุรกิจอย่าง ยั่งยืน เอไอเอส กล่าวว่า ในฐานะ Digital Life Service Provider ที่มุ่งมั่นสร้างสรรค์ Digital Infrastructure เพื่อคนไทย เราให้ความสำคัญในการดำเนินธุรกิ จแบบเติบโตไปพร้อมกันทุกภาคส่วน
โดยเฉพาะในประเด็นของสิ่งแวดล้อ ม ที่เราตระหนักถึงและมีนโยบายในก ารร่วมดูแลรักษา ฟื้นฟู ในช่วงต้นปีที่ผ่านมาเราได้สานต่ อภารกิจเพื่อสิ่งแวดล้อม โดยขยายผลแคมเปญใหญ่ “คนไทยไร้ E –Waste ” จับมือกับพันธมิตรทุกภาคส่วนทั่ วประเทศ
เพื่อสร้างการตระหนักรู้เรื่องภั ยอันตรายที่แฝงมากับขยะอิเล็ กทรอนิกส์ พร้อมขยายจุดรับทิ้งขยะทั่วประเ ทศ อำนวยความสะดวกให้คนไทยสามารถเข้ าถึงจุดรับทิ้งขยะ E –Waste ได้ง่าย ใกล้บ้านคุณ
การรวมพลังกับ ภาคีเครือข่ายความเพื่อยั่งยืนแ ห่งประเทศไทย TRBN โดยความร่วมมือของกลุ่มบริษัทจด ทะเบียน ภายใต้การกำกับดูแลของตลาดหลักท รัพย์แห่งประเทศไทย ทั้ง 9 องค์กร ในครั้งนี้ จะเป็นการสร้างเครือข่ายสีเขียว และเป็นต้นแบบความร่วมมือที่สำคั ญ
ที่จะช่วยให้พนักงานของแต่ละองค์ กรและประชาชนทั่วประเทศ เข้าใจ รู้ถึงภัยอันตรายที่มากับขยะอิเ ล็กทรอนิกส์หากกำจัดอย่างไม่ถูก วิธี รวมถึงสามารถเข้าถึง จุดรับทิ้งข ยะอิเล็กทรอนิกส์ (E-Waste) ได้สะดวก และใกล้บ้านมากยิ่งขึ้น
พิมพรรณ ดิสกุล ณ อยุธยา ผู้อำนวยการเครือข่ายเพื่อความยั่งยืนแห่งประเทศไทย
ด้าน พิมพรรณ ดิสกุล ณ อยุธยา ผู้อำนวยการเครือข่ายเพื่อความยั่ งยืนแห่งประเทศไทย กล่าวว่า เครือข่าย TRBN มีเป้าหมายสำคัญในการขับเคลื่อน ให้บริษัทเอกชนไทย คำนึงถึงปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมแ ละสังคม รวมถึงการมีธรรมาภิบาลที่ดีในกา รดำเนินธุรกิจหรือเป็นส่วนหนึ่ งของแผนธุรกิจ
เพราะการที่บริษัทต่าง ๆ เข้าใจว่าบริษัทตนเองเกี่ยวข้อง กับประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม สังคม ธรรมาภิบาลอย่างไรนั้น จะทำให้บริษัทรู้จักการบริหารจั ดการความเสี่ยง และสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในการดำ เนินธุรกิจอย่างยั่งยืน ในขณะเดียวกันก็ร่วมสร้างคุณค่า ให้กับสังคมไปพร้อมกันด้วย และสิ่งเหล่านี้คือพันธกิจของ TRBN
อีกหนึ่งพันธกิจสำคัญของเครือข่ ายคือการสร้างแพลตฟอร์ม หรือ ความร่วมมือของธุรกิจต่าง ๆ ที่อยากให้บริษัทตนเองมีส่วนในก ารสร้างสิ่งความเปลี่ยนแปลงที่ ดีขึ้นในสังคม ซึ่งประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมเป็น เรื่องที่สำคัญมากในการดำรงชีวิ ต และในการดำเนินธุรกิจ ผลกระทบค่อนข้างชัดเจนและหลีกเลี่ ยงไม่ได้ที่เราจะต้องพึ่งพา
หรื อสร้างผลกระทบให้สิ่งแวดล้อม สิ่งที่ เอไอเอส ทำอยู่นี้เป็นเรื่องที่น่ าสนใจมาก และเป็นสิ่งที่ช่วยได้ มาก และคิดว่าเป็นเรื่องที่คนไทยส่ว นใหญ่ยังไม่รู้ยังไม่เข้าใจ ซึ่ง เอไอเอส ไม่ได้ทำคนเดียว มีการร่วมมือกับพาร์ทเนอร์ บริษัทเอกชนและหน่วยงานราชการลุ กขึ้นมาเก็บคืนเรียกคืน
โดยใช้เครือข่ายร่วมกันทำมันก็จ ะกระจายความตระหนักตรงนี้ออกไปแ ละที่สำคัญคือทำให้ง่ายต่อการเข้ าถึง ง่ายต่อการมีส่วนร่วม และถ้าทุกคนช่วยกันบอกต่อให้ทุก คนเข้าใจว่ามันคือภัยเงียบ คือภัยใกล้ตัวที่เราส่วนมากมักจ ะมองข้าม
โดย ขยะอิเล็กทรอนิกส์ (E-Waste) ที่แคมเปญ “คนไทยไร้ E –Waste “ มุ่งเน้นมีทั้งหมด 5 ประเภท ได้แก่ โทรศัพท์มือถือ/แท็บเล็ต, แบตเตอรี่มือถือ, พาวเวอร์แบงก์, สายชาร์จ หูฟัง และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ขนาดเล็ ก อาทิ กล้องถ่ายรูป เครื่องเล่น MP3
โดยขยะ E –Waste ทั้งหมดที่เข้าสู่โครงการจะถูกร วบรวมและนำไปกำจัดแบบถูกวิธีด้ วยกระบวนการ Zero Landfilled ปัจจุบัน “คนไทยไร้ E –Waste “ มีจุดรับทิ้งขยะ E-waste รวมทั้งสิ้น 1,806 จุด อาทิ ที่ทำการไปรษณีย์ 160 แห่ง, AIS Shop จำนวน 136 สาขาทั่วประเทศ, AIS Telewiz, ศูนย์การค้าเครือเซ็นทรัล 34 แห่ง, มหาวิทยาลัยต่างๆ และอาคารชุด คอนโด ในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร และหั วเมืองใหญ่ทั่วประเทศ
ส่วนขยาย
* บทความเรื่องนี้น่าจะเป็นประโยชน์สำหรับการวิเคราะห์ในมุมมองที่น่าสนใจ
** เขียน: ชลัมพ์ ศุภวาที (บรรณาธิการ และผู้สื่อข่าว)
*** ขอขอบคุณภาพประกอบบางส่วนจาก www.pexels.com
สามารถกดติดตามข่าวสารและบทความทางด้านเทคโนโลยีของเราได้ที่ www.facebook.com/itday.in.th